แบบฝึกหัด ชีวะ ม 5 พร้อม เฉลย

อาง-ส-ปา-เทา-ญปน
  1. แบบทดสอบบทที่ 1 เรื่อง เซลล์
  2. แบบฝึกหัดพร้อมเฉลยพฤติกรรมของสัตว์ | Wan1966's Blog
  3. แบบฝึกหัด ม.4 - Slunečnice.cz
  4. เฉลยแบบฝึกหัด 1.1 ข้อ 2 | คณิตพื้นฐาน ม.5 บทที่ 1 เลขยกกำลัง | โดย สุนทร พิมเสน - YouTube

ในสภาพสิ่งแวดล้อมเดียวกัน ท่านคิดว่าพืชพวกจิมโนสเปอร์มและพืชดอก พวกใดจะเจริญเติบโตได้ดีกว่ากัน เพราะเหตุใด 1. จิมโนสเปอร์ม เพราะเป็นพืชที่มีท่อลำเลียงน้ำและอาหารขนาดใหญ่ 2. จิมโนสเปอร์ม เพราะท่อลำเลียงน้ำมีแต่เทรคีด 3. พืชดอก เพราะท่อลำเลียงน้ำมีแต่เวสเซล 4. พืชดอก เพราะท่อลำเลียงน้ำมีเทรคีดและเวสเซล ในสภาพแวดล้อมชนิดเดียวกัน พืชดอกเจริญเติบโตได้ดีกว่าพืชพวกจิมโนสเปิร์มซึ่งมีท่อลำเลียงเฉพาะเทรคีด ในขณะที่พืชดอกท่อลำเลียงมีเทรคีดและเวสเซล 8. ถ้าพืชขาดธาตุ Mg พืชจะดึง Mg จากแหล่งที่มีมาก ไปยังแหล่งที่ต้องการใช้ทางใด 1. ไซเลม 2. โฟลเอม 3. เทรคีด 4. ไฟเบอร์ ในกรณีที่พืชขาด Mg พืชจะดึง Mg ที่มีมากจากแหล่งอื่น ๆ ของพืชโดยผ่านทางโฟลเอม 9. แรงดันราก (Root pressure) มีประโยชน์ต่อพืชในแง่ใดมากที่สุด 1. ช่วยดึงน้ำจากรากขึ้นไปยังยอดพืชที่อยู่สูง ๆ ได้ 2. ช่วยในการคายน้ำของพืช 3. ทำให้เกิดปรากฏการณ์กัตเตชัน 4. ช่วยซ่อมแซมสายน้ำที่ขาดตอนในท่อไซเลม ในช่วงที่พืชคายน้ำมากกว่าดูดน้ำ แรงดันราก (Root pressure) มีประโยชน์ต่อพืชในแง่การช่วยดึงและดันน้ำจากรากขึ้นไปยังยอดพืชที่อยู่สูง ๆ ได้ 10. เซลล์คู่ใดต่อไปนี้ที่ต้องทำงานร่วมกัน ขาดเซลล์ใดเซลล์หนึ่งไม่ได้ 1.

แบบทดสอบบทที่ 1 เรื่อง เซลล์

เฉลยแบบฝึกหัด 1. 1 ข้อ 2 | คณิตพื้นฐาน ม. 5 บทที่ 1 เลขยกกำลัง | โดย สุนทร พิมเสน - YouTube

ไม่มีข้อถูก 21. สารเคมีที่มดปล่อยออกมาเเล้วทำให้มดเดินตามกันเป็นแถวได้นั้นเป็นสารชนิดใด ก. กรดแอซิติก ข. กรดฟอร์มิก ค. กรดแลกติก ง. กรดแอสคอร์บิก 22. การที่สุนัขตัวหนึ่งเลียปากสุนัขอีกตัวหนึ่ง แสดงถึงสิ่งใด ก. อยากกินอาหาร ข. ข่มขู่สุนัขตัวที่ถูกเลียปากให้อ่อนน้อมลง ค. ยื่นมือและหงายมือให้จับ ง. เพื่อแสดงการอ่อนน้อมต่อสุนัขตัวที่ถูกเลียปาก 23. ไหมตัวเมียสร้างสารเคมีในการดึงดูดไหมตัวผู้ที่ใด ก. ที่ต่อมบริเวณทรวงอก ข. ที่ปล้องที่สองของส่วนท้อง ค. ที่ปล้องที่ท้ายของส่วนท้อง ง. ทุกส่วนของไหมตัวเมียสร้างสารเคมีได้ 24. การรับฟีโรโมนของสัตว์มีกี่ทางอะไรบ้าง ก. ทางคือ ดมกลิ่น และกิน ข. 3 ทางคือ ดมกลิ่น กิน และทางการดูดซึม ค. 2 ทางคือ ดมกลิ่น และทางการดูดซึม ง. 3 ทางคือ ดมกลิ่น สัมผัส และทางการดูดซึม 25. การสื่อสารแบบใดที่เหมาะสมกับการดำรงชีวิตของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่อาศัยอยู่ในป่าทึบ 1. เสียง 2. สายตา 3. กลิ่น 4. ลิ้มรส 5. สัมผัส ก. 1, 2 ข. 1, 3 ค. 4, 5 ง. 2, 5 เฉลยแบบฝึกหัดบทที่ 10 พฤติกรรม ข้อ 1 ค ข้อ 2 ข้อ 3 ก ข้อ 4 ข ข้อ 5 ง ข้อ 6 ข้อ 7 ข้อ 8 ข้อ 9 ข้อ 10 ข้อ11 ข้อ 12 ข้อ 13 ข้อ 14 ข้อ 15 ข้อ 16 ข้อ 17 ข้อ 18 ข้อ 19 ข้อ 20 ข้อ 21 ข้อ 22 ข้อ 23 ข้อ 24 ข้อ 25 ก

แบบฝึกหัดพร้อมเฉลยพฤติกรรมของสัตว์ | Wan1966's Blog

แบบทดสอบบทที่ 1 เรื่อง เซลล์ ++ ���й� ++ �ô��ҹ�����Ңͧ��������ú��ǹ��͹ŧ��ͷ�Ẻ���ͺ ++ ����͹!!!! ++ ��ô���¡�͹��Ẻ���ͺ�������繡�á�зӼԴ���ҧ�����ç��͵��ͧ แบบทดสอบบทที่ 1 เรื่อง เซลล์ 1. อวัยวะในเซลล์ชนิดใดไม่มีเยื่อหุ้มล้อมรอบ ก ไมโตคอนเดรียและไรโบโซม ข คลอโรพลาสต์และกอลไจ แอพพาราตัส ค ผนังเซลล์และไรโบโซม ง แวคิวโอและไมโครบอดีส์ จ ไมโครทิวบูลส์และไมโครบอดีส์ 2. Middle lamella ประกอบด้วยสารประเภทใดเป็นส่วนใหญ่ Cellulose Pectin Hemicellulose Chitin Cutin 3. อวัยวะในเซลล์ชนิดใดเกี่ยวข้องกับการสร้างผนังเซลล์ ไมโตคอนเดรีย ไรโบโซม เอนโดพลาสมิด เรติคูลัม กอลไจ แอพพาราตัส นิวเคลียส 4. อวัยวะชนิดใดเป็นที่เก็บสะสมสารสีที่ไม่ละลายน้ำ แวคิวโอ คลอโรพลาสต์ อะไมโลพลาสต์ อีธิโอพลาสต์ ถูกทุกข้อ 5. อวัยวะชนิดใดในเซลล์สร้าง ATP ได้ เยื่อหุ้มเซลล์ ไมโครทิวบูลส์ ���

ชีววิทยา-โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก ข้อ 1-10 1. ข้อใดไม่ใช่ส่วนของลำต้น 1. ขิง, หัวมันฝรั่ง 2. มันแกว, ต้นหอม 3. หัวเผือก, หน่อไม้ 4. ข่า, ตะบองเพชร เฉลยข้อ 2 เหตุผล หัวมันแกวไม่ใช่ส่วนของลำต้น แต่เป็นส่วนของราก ต้นหอมก็ไม่ใช่ลำต้น แต่เป็นส่วนของใบ ********************************************** 2. ในเวลากลางวัน พืชคายน้ำน้อยที่สุดในสภาพแวดล้อมใด 1. ดินมีค่าชลศักย์ -10 บาร์ อุณหภูมิ 32 องศาเซลเซียส อากาศนิ่ง 2. ดินมีค่าชลศักย์ -2 บาร์ อุณหภูมิ 32 องศาเซลเซียส อากาศนิ่ง 3. ดินมีค่าชลศักย์ -5 บาร์ อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส อากาศนิ่ง 4. ดินมีค่าชลศักย์ -2 บาร์ อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส มีกระแสลมอ่อน เฉลยข้อ 3 เหตุผล ในเวลากลางวันพืชคายน้ำน้อยที่สุดในสภาพแวดล้อม ที่มีอุณหภูมิต่ำ อากาศนิ่ง ดินมีค่าชลศักย์สูง 3. ในลำต้นของอ้อยจะพบน้ำตาลอยู่ในกลุ่มเซลล์ใดบ้าง 1. ซิฟทิวบ์เมมเบอร์, โฟลเอมพาเรนไคมา 2. เวสเซล, คอมพาเนียนเซลล์ 3. เทรขีด, แคมเบียม 4. ซีฟทิวบ์เมมเบอร์ เฉลยข้อ 1 เหตุผล ในลำต้นของอ้อย จะพบน้ำตาลอยู่ในกลุ่มเซลล์ของท่อลำเลียงอาหารหรือโฟลเอม ซึ่งได้แก่ซีฟทิวบ์เมมเบอร์และโฟลเอมพาเรนไคมา 4.

แบบฝึกหัด ม.4 - Slunečnice.cz

  1. Blossom cuticle oil ซื้อ ที่ไหน gel
  2. เฉลยคำถามท้ายบทที่ 11 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
  3. แบบทดสอบบทที่ 1 เรื่อง เซลล์

1. จงเปรียบเทียบโครงสร้างต่อไปนี้ 1. 1 เนื้อเยื่อรากและลำต้นของพืชใบเลี้ยงคู่ แนวคำตอบ 1. 2 ไซเล็ม กับ โฟลเอ็ม 1. 3 รากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว กับรากพืชใบเลี้ยงคู่ 1. 4 เอพิเดอร์มิส กับ เอนโดเดอร์มิส 2. ถ้าใช้วาสลีน เคลือบผิวใบทั้งด้านบนและด้านล่าง และเคลือบที่ลำต้น จะเกิดอะไรขึ้นกับพืชต้นนั้น 3. จงเก็บตัวอย่างใบพืชแบบต่างๆ และพยายามจัดจำแนกใบพืชที่เก็บตัวอย่างมา 4. จงศึกษาการทดลองข้างล่างนี้แล้วตอบคำถาม มีผู้ทำการทดลองดังภาพ โดยเคลือบวาสลีน ที่รอยตัดที่อยู่เหนือน้ำ แต่พืชในหลอดที่ 6 เคลือบรอยตัดที่อยู่เหนือน้ำ และรอยตัดของลำต้นที่อยู่ใต้น้ำด้วย 4. 1 การทดลองนี้ผู้ทดลองมีจุดประสงค์ในการทดลองอย่างไร 4. 2 การทดลองนี้นักเรียนคิดว่าผลการทดลองเป็นอย่างไร 4. 3 นักเรียนจะเก็บผลการทดลองอย่างไร 4. 4 ถ้าจะปรับปรุงการทดลองนี้ให้น่าเชื่อถือ นักเรียนจะปรับปรุงการทดลองอย่างไร 4. 5 ถ้านักเรียนจะใช้การทดลองในลักษณะนี้ ตรวจสอบว่าความเข้มข้นของแสงมีผลต่อการทดลองหรือไม่ นักเรียนจะดัดแปลงการทดลองนี้อย่างไร 5. ชาวสวนคนหนึ่งปลูกต้นมะม่วง แล้วออกใบเขียวทั้งต้น ชาวสวนเรียกว่า บ้าใบ นักเรียนจะอธิบายสาเหตุของการบ้าใบได้อย่างไร 6.

เฉลยแบบฝึกหัด 1.1 ข้อ 2 | คณิตพื้นฐาน ม.5 บทที่ 1 เลขยกกำลัง | โดย สุนทร พิมเสน - YouTube

แบบฝึกหัดบทที่ 10 พฤติกรรมสัตว์ คำชี้แจง ให้เลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุด 1. ประเภทของพฤติกรรมออกเป็นกี่ แบบ อะไรบ้าง ก. 2 แบบ คือ 1. พฤติกรรมที่มีการฝึกฝน และ 2. พฤติกรรมการเรียนรู้ ข. 3 แบบ คือ 1. พฤติกรรมที่มีมาแต่กำเนิด, 2. พฤติกรรมที่มีฝึกฝน และ 3. พฤติกรรมการเรียนรู้ ค. พฤติกรรมที่มีมาแต่กำเนิด และ 2. พฤติกรรมการเรียนรู้ ง. รีเฟล็กซ์, 2. รีเฟล็กซ์ต่อเนื่อง และ 3. การฝังใจ 2. พฤติกรรมของสัตว์เป็นผลจากการทำงานร่วมกันระหว่างอะไร กับ อะไร ก. ฮอร์โมน และ สภาพแวดล้อม ข. พันธุกรรม และ ฮอร์โมน ค. พันธุกรรม และ สภาพแวดล้อม ง. พันธุกรรม, สภาพแวดล้อม ฮอร์โมน 3. ข้อใดไม่เป็นพฤติกรรมแบบ รีเฟล็กซ์ ก. ปลาว่ายน้ำในลักษณะที่ตั้งฉากกับแสงอาทิตย์ ทำให้ศัตรูที่อยู่ในระดับต่ำกว่ามองไม่เห็น ข. เมื่อมีสิ่งขงเข้ามาใกล้ตา ตาก็จะกระพริบ ค. เดินเหยียบหนาม หรือของมีคม ยกเท้าหนีทันที ง. ข้อ ก และ ข 4. การดูดน้ำนมของเด็กอ่อน สิ่งเร้าคือ อะไร ก. แม่ ข. ความหิว ค. น้ำนม ง. ไม่มีสิ่งเร้า 5. จากข้อ 4 เป็นพฤติกรรมแบบใด ก. การฝังใจ ข. แฮบิชูเอชัน ค. รีเฟล็กซ์ ง.

ภูมิคุ้มกันที่ร่างกายสร้างขึ้นเอง เป็นวิธีการกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันจากสิ่งแปลกปลอมหรือเชื้อโรค เช่น การฉีดวัคซีนคุ้มกันโรคอหิวาตกโรค เป็นการกระตุ้นให้ร่างกายสร้างแอนติบอดี เพื่อทำลายเชื้ออหิวาตกโรค ที่จะเข้าสู่ร่างกาย เป็นต้น 2. ภูมิคุ้มกันที่รับมา เป็นวิธีการให้แอนติบอดีแก่ร่างกายโดยตรง เพื่อให้เกิดภูมิคุ้มกันทันที เ ช่น การฉีดเซรุ่มแก้พิษงู ใช้ฉีดเมื่อถูกงูกัด จะเกิดภูมิคุ้มกันทันที ระบบน้ำเหลือง สารต่างๆในเซลล์จะถูกลำเลียงกลับเข้าสู่หลอดเลือดด้วยระบบน้ำเหลืองโดยสัมพันธ์กับการไหลของเลือดในหลอดเลือดฝอย ระบบน้ำเหลืองมีส่วนประกอบ ดังนี้ 1. อวัยวะน้ำเหลือง เป็นศูนย์กลางผลิตเซลล์ต่อต้านสิ่งแปลกปลอม ได้แก่ ต่อมน้ำเหลือง ต่อมทอนซิล ม้าม และต่อมไทมัส มีหน้าที่ผลิตสารต่อต้านเชื้อโรค และสิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่ร่างกาย 2. ท่อน้ำเหลือง (lymph vessel) มีหน้าที่นำน้ำเหลืองเข้าสู่หลอดเลือดดำในระบบหมุนเวียนของเลือด 3.

เนื้อเพลง ดิน แดน แสน วิเศษ, 2024